ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ชามตราไก่ลำปาง

 

1 ถ้วยก๋าไก่ ชามไก่ก าเนิดในเมืองจีนเมื่อประมาณร้อยกว่าปี ซึ่งเป็นฝีมือของ ชาวจีนแคะ ต าบลกอปี อ าเภอไท้ปู มณฑลกวางตุ้ง เดิมชามตราไก่ไม่ปรากฏ การเขียนลายเป็นเพียงชามขาวธรรมดา เมื่อผลิตเสร็จได้จัดส่งมาเขียนลาย เผาสีบนเคลือบ ที่ต าบลปังเคย แต้จิ๋ว หลังจากนั้นจึงกลายเป็นชามตราไก่ ส าเร็จรูปและส่งออกจ าหน่ายในตลาดทั่วไป ถ้วยก๋าไก่ หรือชามตราไก่ ที่ปรากฏในนครล าปาง ต่อมาราว ปี พ.ศ. 2480 ชาวจีนที่ท าชามตราไก่ในประเทศจีนได้ ย้ายถิ่นมาจากเมืองจีนมาตั้งบ้านเรือนที่กรุงเทพมหานครและนครล าปาง (ใน การย้ายถิ่นมาครั้งนี้ได้น าช่าง ญาติพี่น้อง ชาวจีนที่มีความสามารถทางการ ปั้นเครื่องปั้นดินเผามาด้วย) พร้อมกันนี้ได้ก่อสร้างโรงงานและเตาเผาชาม 2 ตราไก่ขึ้น ที่แถววงเวียนใหญ่ จังหวัดธนบุรี และที่ถนนเพช รบุ รี กรุงเทพมหานคร ในราวปี พ.ศ. 2500 ชาวจีนที่ท าโรงงานและเตาเผาจานตราไก่ ได้ ย้ายขึ้นมาตั้งโรงงานและเตาเผาใน จังหวัดล าปางทั้งนี้เนื่องจากที่จังหวัด ล าปางมีดินขาวเหมาะที่จะน ามาท าการผลิตชามตราไก่มากที่สุดหลังจาก พบดินขาวที่อ าเภอแจ้ห่ม ในปีเดียวกันชามไก่ในเมืองล าปาง เริ่มผลิตขึ้นโดย ชาวไท้ปู 4 คน คือ นายซิมหยู นายเซี่ยะหยุย แซ่อื้อ นายซิวกิม แซ่กว็อก และนายซือเมน แซ่เทน ร่วมก่อตั้ง " โรงงานร่วมสามัคคี " ที่บ้านป่าขาม อ าเภอเมือง ก่อนแยกตัวเปิดกิจการตนเองในอีก 3 ปีถัดมา ระหว่างปีพ.ศ. 2502-2505 ชาวจีนตั้งโรงงานผลิตถ้วยชามที่ล าปาง มากขึ้น รวมถึงผลิตชามไก่ที่เริ่มด้วยขว้างดินขาวล าปางหมักเปียกลงบนพิมพ์ ซึ่งหมุนบนล้อจักรยาน แล้วใช้แผ่นไม้ตัดเป็นรูปโค้งขนาดเหมาะมือ (จิ๊กเกอร์ มือ) แต่งดินให้ได้รูปทรงถ้วย ต่อขา เคลือบขี้เถ้าแกลบ การเผาใช้เตามังกร โบราณแบบกอปี ฟืนไม้ ส่วนการวาดลายไก่ก็ฝึกคนท้องถิ่นตะหวัดพู่กันจีน วาดเป็นส่วนๆ ต่อเติมจนเต็มรูปแบบในแต่ละใบ แต่ละคนจับพู่กัน 2-3 ด้าม ในเวลาเดียวกันแล้วแต่ความยุ่งยากของกรรมวิธี ท าให้ผลิตภัณฑ์ออกมาไม่ ทันความต้องการ ลักษณะของชามตราไก่ "ชามไก่" หรือเรียกทั่วไปว่า "ถ้วยก๋าไก่" ภาษาแต้จิ๋วเรียก "โกยอั้ว" เป็นชามที่เหมาะสมกับการใช้ตะเกียบพุ้ย ชามไก่ มี 4 ขนาด คือ ขนาดปากกว้าง 5 นิ้ว (เสี่ยวเต้า) 6 นิ้ว (ตั่วเต้า) 7 นิ้ว (ยี่ไห้) และ 8 นิ้ว (เต๋งไห้) โดยชามขนาด 5-6 นิ้ว ส าหรับใช้ในบ้านและร้านข้าวต้ม 3 ชั้นผู้ดี ส่วนขนาด 7-8 นิ้ว ส าหรับจับกังที่ท างานหนักเพราะกินจุ ลักษณะ ของชามไก่จะเป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมเกือบกลม ปากบาน ข้างชามด้านนอกมี รอยบุบเล็กน้อยรับกับเหลี่ยม ขามีเชิง วาดลวดลายด้วยมือ เป็นรูปไก่ขนคอ และล าตัวสีแดง หางและขาสีด า เดินอยู่บนหญ้าสีเขียว มีดอกโบตั๋นสีชมพู ออกม่วง ใบสีเขียวตัดเส้นด้วยสีด าอยู่ด้านซ้าย มีต้นกล้วย 3 ใบ สีเขียวตัด เส้นด้วยสีด าอยู่ด้านขวา บางใบมีค้างคาวห้อยหัวอยู่ฝั่งตรงข้ามกับไก่ มี ดอกไม้ ใบไม้เล็กๆ แต้มก้นชามด้านใน ใช้สีบนเคลือบขี้เถ้าเผาที่อุณหภูมิ 750 - 850 องศาเซลเซียส เพราะต้องการให้สีสด ชามตราไก่ขนาดต่างๆ ลักษณะของเคลือบบนชามจะมีลักษณะสีเขียวอ่อนๆ แบบจีนต่อมา เมื่อประเทศจีนมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วชามตราไก่ส่งมาขาย เมืองไทยไม่ได้ไทยจึง ต้องผลิตชามตราไก่เองต่อมาในระยะหลังๆ การผลิต และการขายชามตราไก่มีการแข่งขันกันมากขึ้นในท้องตลาด การผลิตจึงได้ เปลี่ยนไปจากการเผาเคลือบและเผาสีซึ่งมีกระบวน การ 2 ขั้นตอน ให้เหลือ 4 การผลิตขั้นตอนเดียวคือเผาครั้งเดียวไม่ต้องเผาสีจึงได้พยายามเปลี่ยน รูปแบบของการผลิตขึ้น เพื่อลดต้นทุนให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ พร้อมกันนี้ จึงได้เปลี่ยนสีรูปไก่ไปเป็นสีใต้เคลือบแทนสีบนเคลือบ ซึ่งตัวไก่เป็นสีเขียว หางสีน้ าเงิน ดอกไม้สีชมพูอ่อน เคลือบชามตราไก่เป็นสีขาวออกสีครีม คุณภาพด้อยลงราคาถูก ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีและวิทยาการการผลิตถ้วยชาม ก้าวหน้าขึ้น จึงมีการเปลี่ยนแปลงโดยการนิยมใช้เครื่องถ้วย แบบญี่ปุ่นมาก ขึ้น ความนิยมในชามตราไก่จึงค่อยๆ หมดไป ชามตราไก่รุ่นแรก ๆ ผลิตภัณฑ์จากประเทศจีน ลักษณะของไก่ ตัว หงอนสีแดง หางสีด า ต้นกล้วยสีเขียวอ่อน ต้นหญ้าสีเขียว ดอกโบตั๋นสีชมพู ม่วง ชามตราไก่รุ่นปัจจุบัน ลักษณะของไก่สีม่วงหรือชมพูม่วง หรือ สีต่าง ๆ กัน หางสีน้ าเงิน เขียว ต้นกล้วยเขียวคล้ า ดอกไม้ชมพูม่วงเขียนลวดลาย ตามใจ ไม่ค่อยมีแบบแผน ลักษณะชามไก่แบบต่าง ๆ 5 ชามตราไก่ยุคแรก 6 วิธีผลิตแบบโบราณ เริ่มจากการผสมดินโดยย่ าด้วยเท้า และนวดด้วยมือ จากนั้นน าดิน มาปั้นตบเป็นดินแผ่น แล้วจึงอัดดินลงแม่พิมพ์ปูนพลาสเตอร์ หมุนขึ้นรูปชาม เป็นวงกลมด้วยมือ ปาดด้วยไก๊ (ไม้ปาดตัดเป็นรูปโค้ง) แล้วน ามาต่อขาทิ้ง ชามที่ขึ้นรูปแล้วเสร็จไว้บนกระดานให้แห้งโดยธรรมชาติ น ามาชุบเคลือบที่ ท าจากขี้เถ้าแกลบปูนหอย และดินขาว จากนั้นบรรจุลงจ้อน าไปเรียงในเตา มังกร เผาด้วยฟืนในความร้อนประมาณ 1300 oC ระยะเวลา 18-24 ชั่วโมง เมื่อเผาสุกดีแล้ว จึงน าชามมาเขียนสีบนเคลือบด้วยพู่กันเป็นลายไก่ ดอกไม้ และต้นกล้วย แล้วเผาในเตาอบรูปกลมภายในเป็นถังดินขนาดใหญ่ ด้วย ความร้อนประมาณ 700 – 750 oC ด้วยฟืนประมาณ 5 – 6 ชั่วโมง รอจน เย็นจึงบรรจุใส่เข่งส่งจ าหน่าย ชามตราไก่ยุคแรก 7 การเปลี่ยนแปลง

ชามไก่เริ่มมีการเปลี่ยนรูปแบบ เมื่อโรงงานต่างๆ หันมาลดต้นทุนใน การผลิต เพื่อให้สามารถขายได้ในราคาต่ าลง โดยเริ่มใช้เครื่องปั้น หรือ เครื่องจิ๊กเกอร์เข้ามาช่วยในการผลิต ชามไก่จึงมีลักษณะกลมไม่เป็นเหลี่ยม และต่อมาได้มีการท าแม่พิมพ์ให้มีขาชามในตัว เพื่อจะได้ไม่ต้องต่อขาชาม ภายหลัง ขาชามไก่รุ่นหลังจึงไม่เป็นเชิงจะตรงลงมาในแนวดิ่ง ชามไก่เริ่มเปลี่ยนไปอย่างมาก เมื่อโรงงานเสถียรภาพที่อ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่ สร้างเตาอุโมงค์เผาด้วยน้ ามัน เตาในปี พ.ศ. 2505 และสามารถเผาถ้วยชามแบบเผาครั้งเดียวได้ ซึ่งรวมถึง การเผาถ้วยชามที่วาดสีใต้เคลือบในครั้งเดียวกันโดยไม่ต้องอบสีในภายหลัง ลักษณะของชามไก่ที่ผลิตขึ้นในช่วงนี้ลายไก่วาดด้วยสีเขียว หางน้ าเงิน ดอกไม้สีชมพู ลายวาดลดความละเอียดลง ราคาขายก็ถูกลง สามารถท า ตลาดได้ดีเนื่องจากราคาถูกและลวดลายไม่ถลอกได้ง่าย จากนั้นราคาชามไก่ ก็ถูกลงเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 โรงงานถ้วยชามเริ่มหันมาผลิตถ้วยชาม รูปแบบอื่น ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะถ้วยชามแบบญี่ปุ่นซึ่งเข้ามาแทนที่ด้วย เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยขึ้น จังหวัดล าปางเป็นเพียงจังหวัดเดียวที่ยัง ผลิตชามไก่มาอย่างต่อเนื่อง แต่หาช่างฝีมือที่คงรูปแบบเดิมยาก อีกทั้งสีที่ วาดมีราคาแพง ส่วนใหญ่จึงใช้สีวาดใต้เคลือบ เผาครั้งเดียวที่อุณหภูมิ ประมาณ 1260 oC การวาดลายไก่มีการเปลี่ยนมาใช้สีชมพู หางสีน้ าเงิน แซมใบไม้สีเขียวเข้ม และราคาขายชามไก่ขนาด 6 นิ้ว ในปี พ.ศ. 2516 มี ราคาเพียงใบละ 40 สตางค์ เท่านั้น ทั้งยังมีการผลิตน้อยลงเรื่อย ๆ และการ ผลิตด้วยสีบนเคลือบแบบดั้งเดิมเริ่มหายไปจากตลาด 8 ชามไก่ในยุคปัจจุบัน เมื่อชามไก่ในยุคหลัง ๆ ได้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก และกลายเป็น สินค้าราคาถูก จึงเริ่มมีการสะสม และกว้านซื้อชามไก่ในรุ่นแรกๆ ซึ่งมีสีสัน สวยงาม จนท าให้ชามไก่รุ่นแรก ๆ หายไปจากตลาด จนเริ่มมีบางโรงงานหัน กลับมาผลิตชามไก่ให้คล้ายกับรุ่นแรกๆ โดยขายในราคาที่สูงขึ้น สมาคมเครื่องปั้นดินเผาล าปาง เห็นความส าคัญของชามไก่ ซึ่งเป็น เครื่องปั้นดินเผาในยุคแรกของจังหวัดล าปาง และยังคงมีผลิตอยู่แห่งเดียวใน ประเทศไทย เห็นสมควรที่จะรักษาไว้ จึงได้สร้างประติมากรรมรูปชามไก่ ขนาดกว้าง 3.5 เมตร ไว้ที่แยกทางเข้าจังหวัดล าปาง ริมถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เมื่อราวปี พ.ศ. 2542 ให้ผู้ผ่านไปมาได้รับรู้และเห็น ความส าคัญของชามไก่ ที่มีต่อจังหวัดล าปาง และเพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนทั่วไปหันกลับมาใช้ชามไก่มากยิ่งขึ้นในช่วง ปี พ.ศ. 2544 มี โรงงานในจังหวัดล าปาง หันกลับมาผลิตชามไก่กันมากขึ้น ทั้งแบบวาดใต้ เคลือบและวาดบนเคลือบแบบเก่า ตามความต้องการของตลาด ทั้งเผาด้วย เตามังกรโดยใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงและเผาด้วยเตาแก๊ส ชามไก่ที่ผลิตขึ้น มี มากกว่า 10 ขนาด ตั้งแต่ 1 นิ้วไปจนถึง 8 นิ้ว และพัฒนารูปแบบไป หลากหลาย ตั้งแต่จาน ชาม ถ้วยน้ า ช้อน และของที่ระลึกต่าง ๆ เพื่อ จ าหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัด และบางส่วนยังสามารถ ส่งออกไปขายต่างประเทศได้อีกด้วย 9 ชามตราไก่ยุคปัจจุบัน พัฒนาและผลิตโดยโรงงานธนบดี เซรามิคล าปาง 10 ชามไก่ ถือเป็นต้นก าเนิดของเครื่องปั้นดินเผาจังหวัดล าปาง ซึ่ง แม้ว่าปัจจุบันจังหวัดล าปางมีการผลิต


เซรามิคหลากหลายประเภท ตั้งแต่ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ของประดับของช าร่วย กระเบื้อง สุขภัณฑ์ ลูกถ้วย ไฟฟ้าตลอดจนลูกกรงเซรามิค และแม้ว่าปัจจุบันชามไก่จะไม่ใช่สินค้าที่มี มูลค่าหลักของเซรามิคจังหวัดล าปาง แต่ชามไก่มีความหมายเป็นสัญลักษณ์ ของเครื่องปั้นดินเผาจังหวัดล าปาง และจะอยู่ในความทรงจ าของกลุ่มผู้ผลิต เซรามิคจังหวัดล าปาง และของคนไทยตลอดไป 11 รถม้าล าปาง เป็นที่ทราบกันดีว่า รถม้ามาถึงจังหวัดล าปางในสมัยรัชกาลที่ 6 กล่าวคือ เมื่อรถไฟเชื่อมรางมาถึงนครล าปางเมื่อปลายปี พ.ศ. 2457 รถม้า ได้ถูกขนย้ายจากพระนคร (กรุงเทพมหานคร) มาถึงนครล าปางเช่นกัน รถม้า คันแรก ได้แก่ รถม้าของเจ้าผู้ครองนครองค์สุดท้าย คือ พลตรีมหาอ ามาตย์ โทเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เป็นผู้น ามาใช้ได้น ารถม้ามาโดยว่าจ้างสารถี ซึ่ง เป็นแขกมาจากกรุงเทพฯ เพื่อมาขับรถม้าให้ จากค าบอกเล่าและบันทึกของเจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง อดีตนายก สมาคมรถม้าคนที่ 2 ของจังหวัดล าปาง ซึ่งอนุสาร อ.ส.ท. ฉบับเดือนตุลาคม พ.ศ.2537 ได้รวบรวมไว้มีใจความว่า 12 “...รถม้าเริ่มเข้ามาในจังหวัดล าปางเมื่อประมาณแปดสิบกว่าปีที่ แล้ว รถม้าคันแรกคาดว่าเป็นของเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตย์ เจ้าผู้ครองนคร ล าปางองค์สุดท้ายซึ่งได้ซื้อมาจากจังหวัดกรุงเทพฯ โดยว่าจ้างแขกมาเป็น สารถี และต่อมารถยนต์ในในกรุงเทพฯ ได้มีเพิ่มมากขึ้น รถม้าจากกรุงเทพฯ จึงได้เริ่มอพยพมาในล าปางมากขึ้น และกระจัดกระจายไปตามจังหวัดต่างๆ เช่น จังหวัดนครศรีธรรมราช , จังหวัดนครราชสีมา , จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน ภายหลังพบว่ามีเพียงจังหวัด ล าปางเท่านั้นที่น ารถม้ามาใช้อย่างแพร่หลาย ส่วนจังหวัดอื่นๆรถม้าได้หมด ความนิยมไปโดยไม่ทราบสาเหตุ….” ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่านครล าปางเป็นศูนย์กลางการค้าของ ภาคเหนือตอนบน เครื่องอุปโภค และของใช้ต่างๆ เช่น เกลือ รองเท้า เสื้อผ้า น้ ามัน จะต้องขนส่งโดยตรงจากกรุงเทพมหานครเพื่อมาลง และขนส่งต่อไป ยังจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา และต่อไปยังประเทศลาว ด้านอ าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และประเทศพม่าที่อ าเภอแม่สาย เชียงราย เช่นกัน รถม้าจึงเกิดความส าคัญในการขนส่งภายในจังหวัดขึ้น ตั้งแต่นั้นมา กล่าวได้ว่ารถม้าเป็นเส้นเลือดสายใหญ่ของจังหวัดล าปางไปโดย ปริยาย 13 รถม้านครล าปางในอดีต ย่านสถานีรถไฟล าปาง ที่มา : วารสารคนเมือง ปีที่2 ฉบับที่ 4 ตุลาคม 2538 14 ในปี พ.ศ.2490 รองอ ามาตย์ตรี ขุนอุทานคดี ได้ก่อตั้งสมาคม ล้อเลื่อน และเป็นปีที่ขอจดทะเบียน และในปี พ.ศ.2492 จึงได้ใบอนุญาต และท่านได้เป็นนายกสมาคมรถม้าคนแรก และเป็นผู้แทนราษฎรของจังหวัด ล าปาง ในขณะที่ท่านด ารงต าแหน่งนายกสมาคมรถม้า ซึ่งถือได้ว่าเป็น สมาคมแรกของจังหวัดล าปาง การขอจดทะเบียนล้อเลื่อน จังหวัดล าปางจึง เป็นจังหวัดเดียวที่มีการจดทะเบียนประเภทล้อเลื่อน ที่จะต้องเสียภาษี และ มีป้ายวงกลมอย่างถูกต้องในประเทศไทย การจดทะเบียนรถม้า ต้องเสียภาษี ปีละ 5 บาท ต่อ 1 คัน และใบขับขี่จะต้องต่อใบอนุญาต 2 บาทต่อปี จังหวัด ล าปางจึงถือได้ว่าเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยที่มีการจดทะเบียนรถม้าที่ วิ่งในถนนหลวงที่ถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นแห่งเดียวที่หลงเหลืออยู่ใน ประเทศไทย และมากที่สุดในโลก ในปี พ.ศ.2493 รองอ ามาตย์ตรี ขุนอุทานคดี ได้มอบให้เจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าบุญวาทย์ วงษ์มานิต เป็นนายกสมาคมรถม้า คนที่ 2 ช่วงเจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง เป็นนายกสมาคมรถม้านี้ ถือได้ว่าเป็นยุค ทองของรถม้า ซึ่งในปี พ.ศ.2500 รถม้าของจังหวัดล าปางมีถึง 185 คัน ซึ่ง ถือได้ว่ามีมากที่สุด ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสมาคมรถม้าขึ้น รถม้าในจังหวัดล าปาง เขาเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Queen Victoria จะมีล้อ 4 ล้อ1 เบาะหลังเป็น เก๋ง เป็นเบาะใหญ่ นั่งได้ 2 คน และม้านั่งเสริม สามารถนั่งได้อีก 2 คน รวม แล้วรถม้าคันหนึ่ง ถ้าเป็นคนไทย หรือตัวไม่ใหญ่มาก ก็นั่งได้ 4 คน ปกติแล้ว รถม้ารับฝรั่ง เขาจะนั่งเพียง 2 คนเท่านั้น 1 จากเอกสาร .เที่ยวล าปาง นั่งรถม้า.การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา. 15 เจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง และนายโอ้ต ชาวชมภู ณ บริเวณ อาคารส านักงานเทศบาล ในปี พ.ศ.2501 จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ ได้มอบเงินให้แก่เจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง และขอรับสมาคมรถม้าไว้ในความอุปถัมภ์ของ

รัฐบาล อีกทั้งได้ตั้ง กองทุนให้สมาคมรถม้าอีก 1 กองทุน 16 และเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระเจ้าลูกยาเธอได้ เสด็จพระราชด าเนินมายังจังหวัดล าปาง ในโอกาสนั้นเจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง นายกสมาคมได้น้อมเกล้าฯ ถวายรถม้าแบบ 2 ล้อ พร้อมด้วยม้าเทียมรถ ชื่อ บัลลังก์เพชรแด่พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวิชราลงกรณ์ ในนามของเจ้าบุญส่ง ณ ล าปาง และสมาคมรถม้า ซึ่งชาวรถม้าถือเป็นเกียรติอย่างยิ่ง รถม้าที่ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 17 นั่งรถม้าเล่นน้ าสงกรานต์ในอดีต นั่งรถม้าบวชเณร 18 รถม้าในจังหวัดล าปาง โดยอยู่ทั่วไป จะแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. รถม้า 4 ล้อ รับจ้างทั่วไป ใช้ม้าลาก 1 -2 ตัว หรือมากกว่า ตัวถังโค้งงอเป็นรูปท้องเรือ 2. รถม้า 2 ล้อ จะใช้ม้าลาก 1 หรือ 2 ตัว ก็ได้ อาจใช้เป็นรถฝึกม้าหรือใช้ส่วนตัว 3. รถม้ากระบะ โดยมากเป็นแบบ 4 ล้อ สมัยก่อนใช้ลากขนสินค้าหรือขยะมูลฝอย ส่วนประกอบที่ส าคัญของรถม้า มีดังนี้ 1. โครงหลังคา ท าจากผ้าเทียมหนังหรือหนัง สมัยก่อนจะปิดทึบ และสามารถเปิดปิดได้ ด้านในประกอบด้วยโครง ท าด้วยไม้ หรือเหล็ก 2 ข้าง เพื่อดันโครงหลังคาให้ตึง 2. ตัวถัง ท าด้วยไม้บุด้วยทองเหลืองหรือแผ่นเหล็กด้านหลัง และ ด้านข้างทั้ง 2 ข้าง 3. แหนบ รถม้าจะใช้แหนบประกบกันให้โค้งเป็นรูปไข่แหนบกว้าง 1 1/4 นิ้ว หัวท้ายยึดด้วยน็อต สามารถยืดหยุ่นได้ 4. ลูกโม่ เป็นส่วนส าคัญหรือหัวใจของรถม้าในการเลี้ยงซ้ายและ ขวา 5. ลูกล้อและเพลา ล้อไม้ ล้อหน้า 12 ซี่ ล้อหลัง 14 ซี่รีสอทร์ท า ล าปาง 6. ตะเกียงรถม้า มีหลายรูปแบบ ของแท้ที่น ามาจากต่างประเทศ หาดูได้ยาก จะมีให้ชมที่พิพิธภัณฑ์วัดพระแก้ว จังหวัดล าปาง 19 ปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นไฟแบตเตอรี่เกือบทุกคัน เพราะปัจจุบันมี รถยนต์มากขึ้น แสงจากตะเกียงจะไม่สว่างพอ อาจท าให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ระฆัง มี 2 ฝา ประกบกัน มีเหล็กเหยียบ จะมีเสียงสะท้อนเป็น 2 เสียง ดัง กังวานไพเราะเมื่อเวลาขับขี่ และเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงม้าที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวของมัน คนกับม้า จะรักและผูกพันกันเสมือนหนึ่งสมาชิกในครอบครัว เช่นเดียวกับควาย สัตว์ผู้มีคุณของชาวชนบท คนเลี้ยงม้าจะดูแลเอาใจใส่ม้า ของตนอย่างดี ตอนค่ าจะสุมไฟไล่ยุงให้ ยามว่างมักเข้าไปพูดคุยเล่นด้วย แปรงขน หรือให้อาหารที่ม้าชอบ ถ้าม้าอารมณ์ดีมันจะใช้ปากงับเจ้าของ เบาๆ เป็นการแสดงความรักตอบแทนเช่นกัน คนเลี้ยงม้าจะไม่ใช้งานม้า จนเกินไป เพราะมีความเชื่อว่าการรังแกสัตว์จะท าให้การท ามาค้าขายไม่ขึ้น ไม่เจริญรุ่งเรือง คนจึงนิยมสู่ขวัญม้า เพื่อร าลึกถึงความดีงามของม้าที่ท า ให้แก่ผู้เป็นเจ้าของ โดยนิยมท าในเทศกาลปี๋ใหม่เมือง โดยเอาน้ าขมิ้น ส้มป่อยไปขอโทษที่ท า เคยดุด่าว่ากล่าวหรือตีให้ม้าต้องเจ็บและเสียใจ จากนั้นก็จะเอาอาหารที่ม้าชอบให้กิน ถือว่าเป็นการเสร็จพิธีการ 20 21 22 ม้าในล าปางส่วนใหญ่ เป็น ม้าพันธุ์พื้นเมือง ตัวเล็กแต่ว่องไว เชื่อง และฝึกง่าย หมู่บ้านที่นิยมเลี้ยงม้า ขับรถม้าในปัจจุบันคือ บ้านวังหม้อ อ าเภอเมืองล าปาง ถ้าใครสนใจอยากเป็นเจ้าของรถม้า พร้อมได้รับการฝึก ม้าให้ด้วยในราคากันเอง ตกตัวละประมาณ 40,000-50,000 บาท แล้วแต่ ตกลงของทั้งสองฝ่าย รถม้าในนครล าปางยุคปัจจุบัน ปัจจุบันจังหวัดล าปางร่วมกับสมาคมรถม้าล าปางและเทศบาลนคร ล าปาง ได้จัดท าสถานีรถม้า หรือจุดบริการรถม้าล าปาง ให้กับนักท่องเที่ยวที่ เข้ามาในจังหวัดล าปางจ านวน 4 สถานีด้วยกัน คือ 23 1. หน้าศาลากลางเก่าจังหวัดล าปาง เวลา 06.00-16.00 น. 2. หน้าโรงแรมล าปางเวียงทอง เวลา 06.00 - 23.00 น. 3. หน้าโรงแรมทิพย์ช้างล าปาง เวลา 06.00 - 23.00 น. 4. หน้าวัดพระธาตุล าปางหลวง ราคาและท าเนียมในการใช้บริการแต่ละรอบ คือ ราคา 100 - 150 บาท หรือชั่วโมงละ 200 บาท รถม้าในล าปางจอด ณ สถานีรถม้ารอนักท่องเที่ยว 24 ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย อยู่ในความดูแลขององค์การอุตสาหกรรมป่า ไม้ (ออป.) ในปี พ.ศ. 2512 ออป. ได้จัดสถานที่เลี้ยงและฝึกลูกช้างด้วย วัตถุประสงค์เพื่อฝึกช้างให้ออกไปท างานด้านชักลากไม้ในป่า ให้เชื่อฟังค าสั่ง และมีความช านาญในการท าไม้ ที่บ้านปางหละ อ าเภองาว แต่ช่วงยี่สิบปีถัด มา รัฐได้ยกเลิกสัมปทานการท าป่าไม้ทั่วประเทศ ท าให้ช้างต่างๆ ท าให้ช้าง ว่างงาน ศูนย์ฝึกลูกช้างจึงถูกเปลี่ยนมาเป็นสถานที่ดูแลช้างแก่และเจ็บป่วย และถูกส่งกลับมาอยู่ที่โรงเรียนฝึกช้าง แต่พื้นที่ที่มีอยู่ไม่สามารถรองรับ จ านวนช้างทั้งหมดได้ จึงได้ย้ายสถานที่มา อยู่ที่ อ.ห้างฉัตร ต่อมาในเดือน มกราคม พ.ศ. 2535 ออป. ได้ก่อตั้งศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยขึ้น และจัดกิจกรรม ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งเกวียน ต าบลเวียงตาล อยู่ในความดูแล ของอุตสาหกรรมป่าไม้ภาคเหนือ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) เป็น ศูนย์ฝึกลูกช้างซึ่งเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในโลก ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย มีพื้นที่กว้างขวางจากบริเวณด้านหน้าของศูนย์ อนุรักษ์ช้างไทย มีรถบริการน าเข้าสู่ส่วนการแสดงต่าง ๆ ภายใน ปัจจุบัน แบ่งพื้นที่เป็น 1.โรงพยาบาลช้าง คอยรักษาดูแลอาการช้างที่ป่วย และ ลูกช้างที่คลอดใหม่ 2.โรงงานท ากระดาษจากมูลช้าง จ าหน่าย และเพิ่มมูลค่า ด้วยการท าเป็นกระดาษเขียนจดมาย,ซองจดหมาย,สมุดโน้ต และอื่น ๆ อีก โรงงานผลิตกระดาษจากมูลช้างเปิดให้เข้าชมวิธีท ากระดาษจากมูลช้างด้วย 3.โรงงานท าปุ๋ยชีวภาพจากมูลช้าง และโรงงานแก๊สชีวภาพน าไปผลิตไฟฟ้า ใช้ภายในศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย(ครบวงจรทีเดียว) 4.โรงช้างต้น (ส่วนนี้ไม่ได้ เปิดให้เข้าชม) และ 5. ส่วนที่ขาดไม่ได้คือ ลานแสดงช้าง 25 ลานแสดงช้าง ลานแสดงช้าง ที่ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยแห่งนี้ การแสดงช้างจะ แตกต่างจากการแสดงช้างที่อื่น(เช่น การนั่ง ยืนสองขา หรือผาดโผนต่างๆ) แต่จะเน้นที่กิจกรรมของช้างที่เคยปฏิบัติในงานท าไม้เป็นหลัก โดย เปรียบเสมือนเป็นโรงเรียนสอนช้างท าไม้ในป่า สาธิตการลากจูงไม้แบบเชือก เดียว การดุนไม้ การยกไม้(ใช้งากับงวงช่วยกัน) หรือการลากจูงไม้ในที่คับ แคบตามภูเขา และสาธิตการช่วยเหลือกันลากจูงไม้โดยช้างสองเชือกพร้อม กัน การจัดเรียงไม้เพื่อรอการขนย้าย เป็นต้น 26 ลานแสดงช้าง 27 แต่จะเพิ่มความน่ารักของช้างด้วยการสาธิตการวาดรูปของช้าง (สามารถขอซื้อได้ เงินเข้าศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยเพื่อช่วยเหลือช้างต่อไป) หลัง การแสดงจบนักท่องเที่ยวสามารถซื้ออาหารเลี้ยงช้างได้ (ชุดละ 20 บาท เลือกได้ว่าจะเอาอ้อย หรือกล้วย) เปิดการแสดงในวันธรรมดา เวลา 10.00 และ 11.00 น. ส่วนวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์เพิ่มรอบ 13.30 น. ค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท ต่างชาติ ผู้ใหญ่ 170 บาท เด็ก 110 บาท ส่วนช้างแท็กซี่ หรือขี่ช้างชมธรรมชาติ ขี่ช้างท่องไพร มีทุกวัน เวลา 08.00-15.30 น. นักท่องเที่ยวสามารถเลือกใช้บริการได้หลายเส้นทาง ชมช้างอาบน้ า 28 ชมช้างอาบน้ า 29 ส าหรับนักท่องเที่ยวหากเข้ามาถึงบริเวณด้านในก่อนเวลาแสดง จะ มีการแสดงอาบน้ าช้าง(ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม) ช้างอาบน้ าใช้เวลาประมาณ 15 นาที เริ่มเวลา 9.45 น. ส าหรับวันธรรมดา และเพิ่มรอบ 13.15 น. ใน วันหยุด ท่านจะได้เห็นช้างตัวโตทยอยกันลงในแอ่งน้ า ด าผุด จุ่มงวงพ่นน้ าใส่ ควาญช้าง และรดตัวเอง เมื่อคลายร้อนก็จะขึ้นบกเพื่อไปเตรียมเข้าแสดง ต่อไป (ข้อแนะน า ถ้าคุณนั่งดูช้างอาบน้ า โปรดระวังบางตัวจะดูดน้ าใส่งวง พ่นใส่คุณ ๆ ที่นั่งแถวหน้า) ข้างๆ ที่ช้างอาบน้ า มีบริการนั่งช้างชมศูนย์ อนุรักษ์ช้างไทย ใช้เวลาประมาณ 15-30 นาที ค่าบัตรสามารถสอบถามได้ที่ เคาเตอร์จ าหน่ายตั๋ว และนักท่องเที่ยวท่านใดต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับการเป็น ควาญช้าง ได้ฝึกช้างพร้อมกับได้มาร่วมแสดงการแสดงช้าง หรือพักผ่อนค้าง คืนที่นี่ สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย 30 กิจกรรมขึ้นช้างท่องป่า 31 การเดินทาง จากอ าเภอเมืองล าปาง ไปตามทางหลวงหมายเลข 11 ผ่านตัว อ าเภอห้างฉัตรมุ่งไปทางจังหวัดล าพูน เมื่อถึงประมาณ กม.ที่ 28-29 จะเห็น ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยอยู่ฝั่งตรงข้าม กลับรถชิดซ้ายเข้าศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย ตลอดทางมีป้ายบอกเป็นระยะว่าอีกกี่ กม.ถึงศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย สอบถาม รายละเอียด โทร. 0 5482 9329, 0 5482 9333 ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทยได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Tourism Awards) ประเภทรางวัลดีเด่นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ พ.ศ. 2541 ปัจจุบันศูนย์ฯ มีโครงการโรงเรียนฝึกควาญช้างเพื่อฝึกควาญหรือผู้ที่ประสงค์ จะเป็นควาญให้สามารถดูแลช้างได้อย่างถูกต้อง มีชาวต่างชาติให้ความสนใจ มาสมัครเป็นนักเรียนหลายคน และมีกิจกรรมโฮมสเตย์ ซึ่งนักท่องเที่ยวจะได้ สัมผัสบรรยากาศธรรมชาติเรียนรู้วิถีชีวิตที่ผูกพันระหว่างช้างกับคนเลี้ยงช้าง อย่างใกล้ชิด มีการจัดแพ็กเกจ 3 วัน 2 คืน ราคา 8,000 บาท 2 วัน 1 คืน ราคา 5,500 บาท โดยรวมค่าอาหาร บ้านพักโฮมสเตย์มีทั้งหมด 3 หลัง ก ำหนดกำร โครงกำรยกระดับแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มำตรฐำน กลุ่มจังหวัดภำคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรมตำมรอย ๓ นักษัตรจังหวัดล ำปำง ๗ – ๙ กุมภำพันธ์ ๒๕๕๙ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ๐๗.๐๐ – ๐๘.๒๐ น. ๐๘.๒๐ – ๐๙.๐๐ น.. ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. ๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐ – ๑๑.๐๐ น. ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ๑๔.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ๑๖.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ลงทะเบียน ณ ส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดล าปาง พิธีเปิดโครงการฯ โดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดล าปาง ออกเดินทางจากส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดล าปาง ไปสมาคมรถม้าจังหวัดล าปาง อ.เมืองล าปาง เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยาย เรื่อง ม้าล าปาง ออกเดินทางไป พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยายไก่ขาวล าปาง พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ ธนบดีเซรามิค ออกเดินทางไปศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย อ.ห้างฉัตร จ.ล าปาง เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยาย เรื่อง ช้างไทย เดินทางไปตลาดทุ่งเกวียน เยี่ยมชมผลิตภัณฑ์สินค้าท้องถิ่น เดินทางกลับภูมิล าเนาโดยสวัสดิภาพ ๘-๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ๐๗.๐๐ – ๐๘.๒๐ น. ๐๘.๒๐ – ๐๙.๐๐ น.. ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. ๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐ – ๑๑.๐๐ น. ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ๑๔.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ๑๖.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ลงทะเบียน ณ ส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดล าปาง รับฟังค าชี้แจงในการเดินทาง ออกเดินทางจากส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดล าปาง ไป สมาคมรถม้าจังหวัดล าปาง อ.เมืองล าปาง เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยาย เรื่อง ม้าล าปาง ออกเดินทางไปพิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยายไก่ขาวล าปาง พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ ธนบดีเซรามิค ออกเดินทางไปศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย อ.ห้างฉัตร จ.ล าปาง เยี่ยมชม พร้อมฟังบรรยาย เรื่อง ช้างล าปาง เดินทางไปตลาดทุ่งเกวียน เยี่ยมชมผลิตภัณฑ์สินค้าท้องถิ่น เดินทางกลับภูมิล าเนาโดยสวัสดิภาพ 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รับทำพิมพ์สกรีนแก้วมัคเซรามิก

การทำสกรีนบนพื้นผิวเซรามิคที่เราสามารถกำหนดแบบเองด้วยสติกเกอร์การพิมพ์สกรีนที่เป็นวัสดุสติกเกอร์ทนความร้อนสูงทำการติเผาเพื่องานสกรีนติดทนถาวรตลอดกาล งานสีเดียวสำหรับสติกเกอร์เซรามิคหลายสีเราก็สามารถผลิตได้ สติกเกอร์ที่มีอุณหภูมิสูงการถ่ายเทความร้อนและการถ่ายเทแก้ว ของเราเซรามิครูปลอกสามารถใช้ในการตกแต่งและไฟบนพื้นผิวของเครื่องปั้นดินเผาเซรามิคและแก้วที่หลากหลายมีให้เลือกมากกว่า 100 แบบ ติดต่อเรา  Tel : 093-187-8005 ทางไลน์ iD : upper_ranger หรือทางอีเมลล์ : bcllampang@gmail.com สอบถาม-สั่งชื้อทางไลน์

งานสกรีน 1 สี 1 จุด

รับติดโลโก้สกรีนลวดลายแก้วมัคขั้นต่ำ 1 สี 1 จุด ราคาถูก!! สำหรับลูกค้าที่ต้องการของพรีเมี่ยมประเภทแก้วติดโลโก้ ชื่อแบรนด์สินค้าสำหรับห้างร้านดัง หรือ ของชำร่วยชื่อคู่บ่าวสาว งานที่ระลึกสำหรับกเษียณอายุราชการ ฯลฯ ชื่อสำหรับแจกให้ลูกค้าหรือเพือนร่วม่าน เรารับงานขั้นต่ำ 200 ใบ มอบของรางวัลให้ลูกค้าด้วยงานสกรีนแก้วมัคสวยๆ ซึ่งท่านสามารถเลือกออกแบบดีไซน์โลโก้ด้วยตัวท่านเอง ส่งแบบงานอาจเป็นรูภาพ .JPG หรือ .PNG หรือ ไฟล์งาน create .ai ความละเอียดสูงยิ่งมีผลทำให้งานออกมาคมชัดสวยงาม งานกรีนแก้ว แก้วติดโลโก้ กล่อบรรจุแก้ว เงื่อนไขและขั้นตอนการสั่งชื้อ - ขั้นต่ำในการสั่งชื้อ 200 ชิ้นขึ้นไป - ส่งแบบแก้วและแบบานสกรีนทางเมลล์และทางไลน์ Tel : 093-187-8005 ทางไลน์ iD : upper_ranger หรือทางอีเมลล์ : bcllampang@gmail.com - ทางเราส่งใบเสนอราคาและตัวอย่างการติดเพื่อตรวจสอบว่าผ่านหรือไม่หากลูกค้าตกลงจะดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนดกัน - การจ่ายเงิน มัดจำการผลิต 60% และ ส่วนที่เหลือโอนเงินก่อนจัดส่งสินค้า - รับประกันสินค้าแตก เสียหาย หรือไม่ครบตามจำนวน ระหว่างการจัดส่งสินค้า สนใจ สอ

กล่องพรีเมี่ยมสำหรับแก้วมัค ชุดกาแฟจานรอง

รับผลิตกล่องบรรจุสินค้าเซรามิค เช่นแก้วมัคและชุดกาแฟจานรอง กล่องสีครีมและขาวแบบมตราฐานฝาปิดแบบไดคัท (Di-Cut)สามารถสั่งชื้อขั้นต่ำ 200 ใบขึ้นไป สามารถออกให้พอดีกับตัวแวร์หรือชิ้นงานได้ เจาะโล่งติดแผ่นใสได้  Tel : 093-187-8005 ทางไลน์ iD : upper_ranger  หรือทางอีเมลล์ : bcllampang@gmail.com กล่องชุดกาแฟจานรอง ( CRH-D8 ) (กว้างxยาวxสูง) 3 6/8x4 6/8x4 3/8 ชนิดกระดาษ ขาว/M125 ชั้น 3 ลอน B ไม่เจาะ+เจาะไม่ติด  กล่องชุดกาแฟจานรอง ( CRH-D8 ) (กว้างxยาวxสูง) 3 6/8x4 6/8x4 3/8 ชนิดกระดาษสีครีม KI125/M125 ชั้น 3 ลอน B ไม่เจาะ+เจาะไม่ติด  เงื่อนไขและขั้นตอนการสั่งชื้อ - ขั้นต่ำในการสั่งชื้อ 200 ชิ้นขึ้นไป - ส่งรายเอียดแบกล่อง สีกล่อง เจาะติดแผ่นใสหรือไม่ Tel : 093-187-8005 ทางไลน์ iD : upper_ranger หรือทางอีเมลล์ : bcllampang@gmail.com - ทางเราส่งใบเสนอราคาและระยะเวลาการผลิต - รับประกันสินค้าแตก เสียหาย หรือไม่ครบตามจำนวน ระหว่างการจัดส่งสินค้า